-
🥱🌙 #ปัจจัยด้านสุขภาพที่สร้างปัญหาต่อการนอนหลับ 💤
บุคคลที่มีประสบการณ์นอนหลับอย่างไม่สงบ ควรเข้ารับการตรวจสุขภาพอย่างละเอียด เพื่อดูว่ามีความเจ็บป่วยในโรคอะไรที่่ก่อให้เกิดปัญหาและกระทบต่อการนอนหลับบ้าง ตัวอย่างสภาวะที่ทำให้ปัญหาการนอนหลับแย่ลงได้
-
🥱🌙การเปลี่ยนแปลงการนอนหลับในโรคอัลไซเมอร์ 💤
การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตจะมีผลต่อการนอนหลับ เช่น การเปลี่ยนแปลงของอายุ รูปแบบการนอน กิจกรรมทางสมอง และโรคเรื้อรัง โดยเฉพาะคนที่เป็นโรคอัลไซเมอร์จะมีผลกระทบต่อการนอนหลับดังนี้
-
🥱รู้จักการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการนอนหลับ 💤
หากเรามีปัญหาในการนอนไม่หลับ และหลับไม่สนิท ซึ่งจะเกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตของเราดังต่อไปนี้
-
🌿 สมุนไพรและอาหารเสริมสำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจ 🍂
ภาวะที่มีไขมันในเลือดสูงจะก่อให้เกิดคราบพลัคในหลอดเลือดแดง ซึ่งจะไปขัดขวางการไหลเวียนของเลือดที่ลำเลียงออกซิเจนไปยังหัวใจและอวัยวะอื่นๆ จึงอาจทำให้หัวใจวายและเสียชีวิตได้
-
🧉ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับคอเลสเตอรอลสูง❤️
คนที่มีภาวะคอเลสเตอรอลสูงส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการใดๆ แต่หากไม่มีการรักษา คอเลสเตอรอลสูงอาจทำให้เกิดปัญหาสุขภาพร้ายแรงได้
-
🧉วิธีป้องกันคอเลสเตอรอลสูง❤️
แม้ว่าเราไม่สามารถควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางพันธุกรรมสำหรับคอเลสเตอรอลสูงได้ แต่ทั้งนี้เราสามารถจัดการกับปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ได้ ซึ่งการลดความเสี่ยงต่อการพัฒนาไปสู่คอเลสเตอรอลสูงทำได้ดังนี้
-
🧉 ลดคอเลสเตอรอลตามธรรมชาติเองที่บ้าน ❤️
ในบางกรณีเราสามารถลดระดับคอเลสเตอรอลได้โดยไม่ต้องใช้ยา ตัวอย่างเช่น การรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ทั้งนี้สมุนไพรและอาหารเสริมบางชนิดสามารถช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลได้
-
💊 การลดคอเลสเตอรอลด้วยยา 🩺
ในบางกรณีแพทย์อาจเขียนใบสั่งยาเพื่อช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล ***ย้ำว่าต้องแพทย์สั่งเท่านั้น ห้ามไปซื้อเอง นำเสนอเพื่อเป็นความรู้
-
🧉วิธีลดคอเลสเตอรอลด้วยอาหาร ❤️
เมื่อคุณอยู่ในภาวะที่มีคอเลสเตอรอลสูง แพทย์จะแนะนำให้ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อช่วยลดคอเลสเตอรอลให้น้อยลง ตั้งแต่ควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย และเลิกสูบบุหรี่
-
🧉 ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากคอเลสเตอรอลสูง ❤️
การมีคอเลสเตอรอลสูง หากไม่ได้รับการดูแลรักษา อาจทำให้เกิดคราบพลัคในหลอดเลือดแดงได้ และเมื่อเวลาผ่านไปคราบเหล่านี้จะทำให้หลอดเลือดแคบลงได้ หรือเรียกว่า ภาวะหลอดเลือดแข็ง (Atherosclerosis)
-
🧉ปัจจัยเสี่ยงต่อคอเลสเตอรอลสูง ❤️
เราทุกคนอาจมีความเสี่ยงที่จะเกิดคอเลสเตอรอลสูงได้ด้วยปัจจัยต่าง ๆ
-
🧉 #การตรวจระดับคอเลสเตอรอล ❤️
สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกามีคำแนะนำให้คนที่อายุ 20 ปีขึ้นไป เข้ารับการตรวจระดับคอเลสเตอรอลอย่างน้อยทุกๆ 4 - 6 ปี หากมีประวัติคอเลสเตอรอลสูงหรือมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ สำหรับโรคหัวใจและหลอดเลือดจะแนะนำให้ตรวจบ่อยขึ้น
-
🧉 #รู้จักกับไตรกลีเซอไรด์ ❤️
ไตรกลีเซอไรด์เป็นสารในกลุ่มลิพิด ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักของน้ำมันและไขมัน มีความแตกต่างจากคอเลสเตอรอล ทั้งนี้เมื่อร่างกายของเราใช้คอเลสเตอรอลในการสร้างเซลล์และฮอร์โมนบางชนิด ก็จะนำไตรกลีเซอไรด์มาใช้เป็นแหล่งพลังงาน
-
🧉 #รู้จักกับ LDL และ HDL ❤️
LDL มักถูกเรียกว่า "คอเลสเตอรอลที่ไม่ดี" จะนำคอเลสเตอรอลไปยังหลอดเลือดแดง หากระดับคอเลสเตอรอลในเลือดของสูงเกินไป ก็จะสะสมที่ผนังหลอดเลือดแดงได้
-
🧉 #สาเหตุของคอเลสเตอรอลสูง ❤️
คอเลสเตอรอลสูงเป็นภัยเงียบที่ไม่ออกอาการกว่าจะรู้ตัวก็ต่อเมื่อมีโรคแทรกซ้อนร้ายแรง เช่น เช่น หัวใจวายหรือโรคหลอดเลือดสมอง
-
🧉#รู้จักกับคอเลสเตอรอล ❤️
คอเลสเตอรอลเป็นไขมันที่อยู่ในร่างกาย หากมีมากเกินไปจะนำไปสู่ปัญหาสุขภาพได้
-
🏃♀️ #การเยียวยาโรคซึมเศร้าแบบธรรมชาติ 🌾
นอกจากการรักษาโดยใช้ยาแล้ว เรายังสามารถเยียวยาโรคซึมเศร้าด้วยวิธีธรรมชาติ โดยออกกำลังกาย สามารถเพิ่มการผลิตเอ็นดอร์ฟินของร่างกาย และอื่น ๆ
-
การรักษาโรคซึมเศร้า[th]
การรักษาโรคซึมเศร้ามีหลายรูปแบบด้วยกัน สามารถเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งหรือผสมกันให้ได้ผลดีที่สุด
-
😰#ประโยชน์ของเมลาโทนิน 😴
“เมลาโทนิน” รู้จักกันในชื่อ “ฮอร์โมนแห่งการนอนหลับ” จะหลั่งออกมาในช่วงเวลากลางคืน มีประโยชน์ #ช่วยส่งเสริมการนอนหลับ และอื่น ๆ อีกมายที่อยากจะแนะนำ
-
😔 #ปัจจัยเสี่ยงของภาวะซึมเศร้า 😭
ภาวะซึมเศร้าสามารถเกิดขึ้นได้จากทั้งปัจจัยทางชีวเคมี ทางการแพทย์ สังคม พันธุกรรม หรือตามสถานการณ์รอบข้าง ขอสรุปปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย
-
👩🔬 #สาเหตุของอาการซึมเศร้า 😭
ภาวะซึมเศร้าสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ตั้งแต่ทางชีวภาพ เคมีในสมอง ฮอร์โมน และสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งสาเหตุทั่วไปที่เจอ
-
😢 #รู้จักกับภาวะซึมเศร้า 😭
อาการซึมเศร้าจัดเป็นโรคทางอารมณ์ ซึ่งมีความรู้สึกเศร้า สูญเสีย หรือโกรธส่งผลรบกวนต่อการทำงานและกิจกรรมในชีวิตประจำวันของบุคคลหนึ่ง โดยส่วนใหญ่คนเราจะโศรกเศร้าหลังจากสูญเสียคนที่คุณรักหรือมีเหตุการณ์กระทบกระเทือนจิตใจ
-
👩🔬#ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากกรดไหลย้อน
โดยส่วนใหญ่โรคกรดไหลย้อนไม่ก่อให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ร้ายแรง แต่ก็มีบางกรณีที่ไม่พบบ่อยอาจทำให้มีปัญหาสุขภาพมที่ร้ายแรงหรือถึงขั้นเสียชีวิตได้
-
👦#อาหารที่กระตุ้นอาการกรดไหลย้อน 🥘
ผู้ป่วยที่เป็นกรดไหลย้อนคสรทราบว่ามีอาหารพบว่าอาหารและเครื่องดื่มบางชนิดที่สามารถกระตุ้นให้เกิดอาการได้ ซึ่งควรระมัดระวัง
-
👩🔬 #ปัจจัยเสี่ยงของกรดไหลย้อน
ปัจจัยด้านสุขภาพสามารถทำให้การวินิจฉัยมีแนวโน้มว่าเกิดโรคกรดไหลย้อนมากขึ้น
-
👩🔬 #สมุนไพรและอาหารเสริมสำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจ ❤️
การเกิดคราบพลัคในหลอดเลือดแดงจะขัดขวางการไหลเวียนของเลือดที่อุดมด้วยออกซิเจนไปยังหัวใจและอวัยวะอื่นๆ อาจทำให้หัวใจวายและเสียชีวิตได้ การรับประทานสมุนไพรและอาหารเสริมบางชนิดสามารถช่วยดูแลหลอดเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจได้
-
🍛🫕 #แนวทางการกินอาหารเพื่อสุขภาพ 🍚🍤
เรากินอะไรเข้าไปย่อมเกิดผลดีหรือไม่ดีต่อสุขภาพตามสิ่งเหล่านั้น ดังนั้นหากเราต้องการมีสุขภาพดี จำเป็นจะต้องมีการจัดระเบียบเพื่อเลือกอาหารที่ดีที่สุดในแต่ละวัน ซึ่งมี 3 แนวทางที่อยากแนะนำ{:]
-
👩🔬 ฮอร์โมนควบคุมวงจรการนอนหลับ 🥱
สมองของเราจะปล่อยสารสื่อประสาทและฮอร์โมนหลายชนิดออกมาเพื่อส่งสัญญาณส่งเสริมให้เกิดการนอนหลับหรือตื่นตัว ซึ่งสารเหล่านี้จำนวนมากจะถูกกระตุ้นด้วยแสงหรือความมืด
-
🥱 วิธีเอาชนะอาการนอนไม่หลับ 🌙
ใครหลายคนที่ประสบกับปัญหานอนไม่หลับจะรู้ว่าเป็นความทุกข์ทรมาน เพราะจะทำให้ตอนกลางวันรู้สึกอ่อนเพลียจากการนอนไม่เพียงพอ คิดงานไม่ออกและไม่สดชื่น อยากจะแก้ไขให้ตัวเองหัวถึงหมอนแล้วนอนหลับและตื่นมาอย่างสดชื่น ซึ่งมีเคล็ดลับดี ๆ มาฝากกัน
-
👩🔬สาเหตุของโรคกรดไหลย้อน
โรคกรดไหลย้อนมีที่มาได้จากหลายสาเหตุ หลัก ๆ มาจากกลไกในร่างกายทำงานไม่ถูกต้อง ซึ่งกล้ามเนื้อหูรูดส่วนล่างของหลอดอาหารจะคลายตัวและเปิดออกเมื่อเรากลืนอาหารเข้าไป จากนั้นจึงกระชับและปิดอีกครั้งในภายหลัง
-
🩺 ตัวเลือกในการรักษาโรคกรดไหลย้อน 💊
การจัดการและบรรเทาอาการของโรคกรดไหลย้อน เบื้องต้นแพทย์มักจะแนะนำให้ผู้ป่วยจัดการตัวเอง ซึงมีแนวทางปฏิบัติดังต่อไปนี้
-
รู้จักอาการของกรดไหลย้อน
ภาวะกรดไหลย้อนเกิดขึ้นเมื่ออาหารจากกระเพาะอาหารไหลเคลื่อนกลับเข้าไปในหลอดอาหาร ทำให้รู้สึกแสบร้อนบริเวณหน้าอก
-
👨🎤#การป้องกันนำไปสู่โรคมะเร็ง 😈
นอกจากความเสี่ยงทางด้านพันธุกรรมแล้ว มะเร็งสามารถเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ ที่เราสามารถป้องกันความเสี่ยงได้
-
-
รู้จักการเติบโตและแพร่กระจายของมะเร็ง
มะเร็งเกิดจากความผิดปกติของเซลล์ที่สามารถแบ่งตัวอย่างรวดเร็วและแพร่กระจายไปยังเนื้อเยื่อและอวัยวะอื่นได้ หรือเป็นเนื้องอกไปปิดกั้นการทำงานของร่างกาย และมีอันตรายถึงเสียชีวิต
-
ประโยชน์ของน้ำมะพร้าวต่อสุขภาพอย่างไร
น้ำมะพร้าวให้ความหวานและความสดชื่นตามธรรมชาติ รวมทั้งมีสารอาหารและแร่ธาตุที่สำคัญมากมาย มีอะไรบ้างมาดูกัน
-
🌿🩸 กินอาหารและอาหารเสริมที่มีสารต้านอนุมูลอิสระดีอย่างไร? 🩸💊
ปกติร่างกายของเราจะสร้างอนุมูลอิสระ (เป็นโมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยวในวงนอกสุด) ผ่านกระบวนการเผาผลาญและการผลิตพลังงาน
-
🍟🥤 8 อาหารและเครื่องดื่มที่ควรหลีกเลี่ยงในโรคข้ออักเสบ 🥤🍟
โรคข้ออักเสบเป็นภาวะการอักเสบเรื้อรังในข้อกระดูกและข้อต่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เกิดได้จากโรครูมาตอยด์และโรคเกาต์ ซึ่งทำให้ข้อบวม และปวดบริเวณข้อต่อ
-
ไฟเซอร์ขออนุมัติยา Paxlovid รักษาโควิด 19
ไฟเซอร์ (Pfizer) เปิดเผยว่าได้ยื่นขออนุมัติ Paxlovid (แพ็กซ์โลวิด) ยาเม็ดรักษาโควิด 19 ในกรณีฉุกเฉินจาก อ.ย. สหรัฐฯ ซึ่งผลระหว่างการทดลองทางคลินิกามารถลดความเสี่ยงของการรักษาในโรงพยาบาลหรือเสียชีวิตได้ 89%
-
กินผักและผลไม้แบบไหน? ปลอดภัย COVID – 19
ท่ามกลางการแพร่ระบาดใหญ่ของโควิด-19 ที่ยังคงมีความรุนแรงไปทั่วโลก เราสามารถเสริมภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายด้วยการกินผักและผลไม้ ซึ่งจะต้องระมัดระวังเรื่องความสะอาดและการจัดเตรียม
-
อาหารโปรตีนสูงสำหรับการลดน้ำหนัก
อาหารที่มีโปรตีนสูงนอกจากจะมีส่วนช่วยในการสร้างกล้ามเนื้อแล้ว ยังสามารถช่วยลดน้ำหนักเพราะหลังจากรับประทานอาหารจะให้ความรู้สึกอิ่มจึงไม่อยากกินอะไรต่อหรือกินมากจนเกินไป ซึ่งขอแนะอาหารที่มีโปรตีนสูงสำหรับช่วยลดน้ำหนัก 10 รายการ
-
การนอนหงายช่วยแก้ปัญหาได้ 8 ประการ
เมื่อล้มตัวลงนอนหลายคนอาจจะพลิกซ้ายพลิกขวาแล้วจบลงด้วยการนอนหลับในท่าตะแคง นอนคว่ำหรือนอนหงาย ซึ่งขึ้นอยู่กับว่านอนท่าไหนแล้วหลับสบายมากกว่ากัน แต่จากผลการศึกษาพบว่าการนอนหงายสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการนอนหลับได้
-
วิตามินและสารอาหารสำหรับการเจริญเติบโตของเส้นผม
ผมต้องการสารอาหารที่หลากหลายเพื่อให้แข็งแรงและเติบโต การได้รับสารอาหารที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เส้นผมเจริญเติบโต
-
แนะวัยเกษียณใช้หลัก 10 ข้อป้องกันโควิดขั้นสูงสุด
ผู้เกษียณอายุที่ก้าวสู่วัยผู้สูงอายุ จะมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด - 19 ที่ง่ายกว่าวัยอื่น ๆ เนื่องจากระบบภูมิต้านทานที่ลดต่ำลง จึงควรมีการปรับตัวตามแนวทางวิถีชีวิตใหม่ ภายใต้การป้องกันตนเองขั้นสูงสุดแบบครอบจักรวาล Universal Prevention ป้องกันโควิด-19 ตามหลัก 10 ข้อปฏิบัติ
-
6 วิธีเตรียมความปลอดภัยก่อนน้ำท่วม
ขณะนี้อยู่ในช่วงฝนตกหนักจนเกิดน้ำท่วมในหลายจังหวัดและหลายจังหวัดกำลังเตรียมพร้อมรับมือมวลน้ำปริมาณมากที่จะหลกเข้ามาในพื้นที่จังหวัดของตัวเอง ดังนั้นควรเตรียมความพร้อมเพื่อความปลอดภัยของชีวิตลดการสูญเสีย
-
สมุนไพรบรรเทาอาการหวัด
ฤดูฝนเป็นช่วงที่ง่ายต่อการเป็นหวัด หากคุณมีอาการคัดจมูก เจ็บคอ ไอ ปวดหัว และมีไข้ ซึ่งในยามสถานการณ์ที่ฝนตกหนักหรือน้ำท่วมเดินทางไปหาหมอไม่สะดวก นอกจากจะกินยาพาราเซตามอลที่มีไว้ติดบ้านแล้วยังสามารถรับประทานสมุนไพรที่ช่วยบรรเทาอาการหวัดให้ดีขึ้นได้ แต่ถ้าอาการไม่ทุเลาก็สามารถเดินทางไปพบแพทย์เมื่อสะดวก สมุนไพรที่ช่วยบรรเทาอาการหวัด
-
สมุนไพรสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
อาหารเสริมและสมุนไพรสามารถใช้ทดแทนสารอาหารที่ไม่เพียงพอ ช่วยลดระดับน้ำตาลกลูโคส ลดการต้านต่ออินซูลิน และลดการอักเสบของร่างกายหรือผลข้างเคียงอื่นๆ ในผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งมีสมุนไพรที่สามารถเยียวยาตามธรรมชาติควบคู่กับการใช้ยาของแพทย์ในการรักษาโรคเบาหวานประเภท 2
-
9 คุณประโยชน์ของน้ำมันรำข้าว
รำข้าวที่ได้จากการสีข้าว นอกจากนำมาใช้เป็นอาหารสัตว์แล้วยังสามารถสกัดเป็นน้ำมันสำหรับประกอบอาหาร และสกัดเย็นเพื่อรับประทานเป็นอาหารเสริมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
-
การป้องกันและลดความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจเกิดจากหลอดเลือดแดงมีคราบพลัคสะสมไม่สามารถทำให้เลือดไหลเวียนส่งไปยังหัวใจได้เพียงพอ ซึ่งหากเราควบคุมพฤติกรรมในการใช้ชีวิตก็จะสามารถช่วยป้องกันโรคนี้ได้ โดยการรักษาสุขภาพของหลอดเลือดแดงและไม่ให้มีคราบพลัค มีแนวทางปฏิบัติตน
-
How to…ทิ้งหน้ากากอนามัยปลอดภัย ลดโอกาสแพร่เชื้อ
หนึ่งในมาตรการป้องกันโควิด-19 ที่ทุกคนรู้และปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่อง คือ การสวมหน้ากาก ซึ่งเป็นวิธีช่วยป้องกันการเเพร่เชื้อได้เป็นอย่างดี แต่หน้ากากอนามัยที่ถูกใช้งานตลอดวันและทุกวัน หลังใช้งานแล้วก็จะกลายเป็นขยะที่อาจมีการปนเปื้อนเชื้อไวรัส ดังนั้นมาดูกันว่าเราควรทิ้งหน้ากากอนามัยอย่างไรให้ถูกต้องและปลอดภัยทั้งต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
-
6 วิธีปรับพฤติกรรมให้เหมาะสมขณะทำงาน
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ออกมาเตือนเกี่ยวกับการทำงานที่บ้าน หรือ Work from home ว่าพฤติกรรมในการนั่งนาน นั่งไม่ถูกวิธี จะทำให้ปวดหลัง ปวดศีรษะได้ และเสี่ยงเป็นออฟฟิศซินโดรม พร้อมได้แนะนำ 6 วิธี ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมในขณะทำงาน
-
ไฟเซอร์ขออนุมัติวัคซีนโควิด-19 ใช้ในเด็ก 5 – 11 ปี
วันศุกร์ที่ 10 กันยายน สื่อเยอรมนีรายงานว่าหัวหน้าเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ของไบโอเอ็นเทค (BioNTech) เผยจะนำเสนอผลการศึกษาการใช้วัคซีนโควิด-19 ในเด็กอายุ 5 – 11 ปี ต่อหน่วยงานรัฐเพื่อขออนุมัติใช้กับเด็กในกลุ่มนี้ หลังจากที่สหรัฐฯ ได้อนุมัติวัคซีนของไฟเซอร์-ไบโอเอ็นเทคอย่างสมบูรณ์สำหรับใช้ในผู้ที่อายุ 16 ปีขึ้นไปเมื่อเดือนสิงหาคม และอนุมัติให้ใช้ในกรณีฉุกเฉินสำหรับเด็กอายุ 12-15 ปีเมื่อเดือนพฤษภาคม
-
11 ประโยชน์ต่อสุขภาพของมังคุด
มังคุด เป็นผลไม้เมืองร้อนที่รสหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อยมีพื้นเพในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบมากในภาคตะวันออกและภาคใต้ ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ราชินีแห่งผลไม้ไทย" มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย เนื่องจากมีสารอาหาร เส้นใย และสารต้านอนุมูลอิสระที่มีเอกลักษณ์
-
6 วิธีทำให้เส้นผมแข็งแรงขึ้น
ผมประกอบด้วยเคราติน (โปรตีนที่ร่างกายสร้างขึ้นเพื่อทำให้ผม เล็บ และผิวแข็งแรงและสุขภาพดี) และเซลล์ผิวที่ตายแล้ว หากคุณเป็นคนหนึ่งที่เส้นผมบางและผมหลุดร่วงเป็นประจำ ต้องการให้สุขภาพผมแข็งแรง มีวิธีที่สามารถทำให้ผมแข็งแรงและยาวขึ้นได้
-
3 ขั้นตอน การใช้ออกซิเจนที่บ้านให้ปลอดภัย
การแพร่ระบาดใหญ่ของโควิด 19 ส่งผลให้มีผู้ป่วยสะสมจำนวนมากจนโรงพยาบาลไม่มีเตียงรองรับผู้ป่วยได้ทั้งหมด เนื่องจากการรักษาและฟื้นตัวของผู้ป่วยที่มีอยู่ต้องใช้เวลา แต่ผู้ติดเชื้อใหม่ยังทยอยเพิ่มเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงมี Home Isolation หรือการรักษาผู้ป่วยที่มีอาการไม่มาก และได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ให้สามารถพักรักษาตัวที่บ้าน หรือสถานที่เฉพาะที่ถูกจัดไว้ให้แทนการรักษาตัวที่โรงพยาบาลโดยจะได้รับความช่วยเหลือและการติดตามอาการจากแพทย์อยู่เสมอ อย่างไรก็ตามมีผู้ป่วยบางรายที่รอเตียงเป็นเวลานานจนอาการหนักจนต้องใช้ถังออกซิเจนช่วยหายใจ ซึ่งจำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญให้คำแนะนำและมีความรู้ในการใช้งานอย่างถูกต้อง
-
สูบบุหรี่เสี่ยงโควิด – 19
การสูบบุหรี่นั้นเป็นอันตรายต่อสุขภาพทั้งผู้สูบโดยตรงและคนรอบข้างที่ได้สูดดมควันบุหรี่เข้าไป ซึ่งจะเสี่ยงต่อโรคร้ายแรงต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคปอด โรคมะเร็ง นอกจากนี้การสูบบุหรี่ยังสร้างความเสี่ยงต่อโควิด 19 อีกด้วย
-
8 ประโยชน์ต่อสุขภาพของมะละกอ
มะละกอเป็นผลไม้เมืองร้อนที่ดีต่อสุขภาพ ซึ่งเต็มไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยลดการอักเสบ ต่อสู้กับโรค และช่วยให้คุณดูอ่อนเยาว์ โดยสามารถสรุปประโยชน์ได้ 8 ประการ
-
สมุนไพรและอาหารเสริมสำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจ
การเกิดคราบพลัคในหลอดเลือดแดงจะขัดขวางการไหลเวียนของเลือดที่อุดมด้วยออกซิเจนไปยังหัวใจและอวัยวะอื่นๆ อาจทำให้หัวใจวายและเสียชีวิตได้ การรับประทานสมุนไพรและอาหารเสริมบางชนิดสามารถช่วยดูแลหลอดเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจได้
-
เทคนิคทำความสะอาดบ้านยุคโควิด
การทำความสะอาดบ้าน ใครคิดว่าไม่สำคัญในช่วงโควิด สำหรับบ้านที่ไม่มีผู้ติดเชื้อคุณอาจจะเดินทางไปไหนมาไหนแล้วเหยียบย่ำเชื้อมากับรองเท้า หรือบ้านที่มีคนติดเชื้อจะทำความสะอาดอย่างไรให้เชื้อที่สามารถลอยไปในอากาศแล้วอาจติดอยู่ตามพื้น ซึ่งมาดูวิธีทำความสะอาดบ้านในยุคโควิดกัน
-
ชัวร์ โควิดและวัคซีน
ะผู้ป่วยหรือคนที่มีโรคประจำตัวอาจมีความวิตกกังวลว่าฉีดวัคซีนแล้วจะทำให้อาการป่วยแย่กว่าเดิม จึงไม่กล้าเข้ารับวัคซีนป้องกันโควิด 19 แต่เมื่อมีการระบาดหนักและผู้ป่วยที่เปราะบางเหล่านี้เกิดติดเชื้อโควิดก็มีโอกาสที่จะป่วยรุนแรง ดังนั้นเรามาดูข้อมูลกันว่าผู้ป่วยโรคใดสามารถฉีดวัคซีนได้
-
อาหารแบบไหนเหมาะแก่ผู้ป่วยโควิด-19 Home Isolation
ผู้ป่วยโควิด-19 ต้องดูแลตัวเองเป็นพิเศษ สำหรับผู้ป่วยที่รักษาตัวโดยการทำ Home Isolation ที่บ้าน ญาติและผู้ที่อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้ป่วย อาจต้องเลือกสรรอาหารที่มีประโยชน์ สะอาด และปลอดภัยมากขึ้นกว่าเดิม เพื่อให้การรักษาตัวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และกลับมาแข็งแรงได้โดยเร็ว
-
อาการข้างเคียงหลังจากฉีดวัคซีนโควิด 19
เมื่อคุณกำลังจะถึงคิวนัดฉีดวัคซีนก็ควรศึกษาข้อมูลเพื่อสังเกตอาการหลังฉีดวัคซีนให้พร้อมว่าควรทำอย่างไร เริ่มแรกหลังจากที่คุณฉีดวัคซีนเรียบร้อยแล้วก็ให้นั่งรอสังเกตอาการ 30 นาที หากไม่พบอาการใด ๆ ก็สามารถกลับบ้านได้อย่างสบายใจ และให้กลับไปสังเกตอาการต่อที่บ้าน
-
3 วิธีล้างผักผลไม้ไม่ให้มีทั้งสารเคมีและโควิด
ข้อมูลด้านโภชนาการแนะนำให้เรารับประทานผักและผลไม้ที่มีสารอาหารวิตามินและเกลือแร่ อีกทั้งมีสารต้านอนุมูลอิสระเพื่อลดความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็ง แต่ปัจจุบันภาคการเกษตรมีการใช้สารเคมีในการปราบศัตรูพืช ซึ่งมีโอกาสที่จะมีสารพิษตกค้างที่จะเป็นอันตรายต่อไต ม้าม หรือระบบประสาท และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็ง
-
การฝึกปอดเพื่อสร้างความแข็งแรงในช่วงโควิด – 19
ในช่วงการระบาดของโควิด 19 เราสามารถเตรียมร่างกายเพื่อเสริมความแข็งแรงของปอดให้พร้อมรับ COVID 19 กับ 6 ท่าบริหารปอดเพิ่มประสิทธิภาพในการหายใจไปกับโครงการ "ก้าวท้าใจ ชวนคนไทยขยับปอด" ด้วย Deep Slow Breathing เพื่อให้ทรวงอกมีการขยายตัวเพื่มขึ้น โดยการหายใจเข้าท้องป่อง หายใจออกท้องแฟบ
-
ผู้ติดเชื้อโควิด 19 สายพันธุ์เดลต้าสามารถแพร่เชื้อได้ 2 วันก่อนมีอาการ
บทความของ The Nature เผยว่าผู้ติดเชื้อโควิด 19 สายพันธุ์เดลต้าสามารถแพร่เชื้อได้ 2 วันก่อนที่จะมีอาการป่วย ซึ่งเป็นปัจจัยที่จะส่งเสริมให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อจนมียอดผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น เพราะมีงานวิจัยพบว่าผู้ติดเชื้อสายพันธุ์เดลต้าจะรู้สึกถึงอาการป่วยหลังจากรู้ผลการทดสอบเป็นบวกมาแล้ว 1.8 วัน
-
ปัจจัยเสี่ยงในการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจเกิดจากหลอดเลือดแดงมีคราบพลัคสะสมมากจนไม่สามารถทำให้เลือดไหลเวียนส่งไปยังหัวใจได้เพียงพอ ทำให้เกิดอาการเจ็บหน้าอก หายใจถี่ หรือถ้าหลอดเลือดอุดตันก็อาจทำให้หัวใจวายได้ ซึ่งคนที่เสี่ยงจะเป็นโรคนี้มีปัจจัยหลายอย่างด้วยกัน
-
วิธีทดสอบสภาพผิวด้วยตัวเอง
การที่เราจะดูแลผิวพรรณด้วยผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ สิ่งสำคัญที่ต้องทราบ คือ เรามีผิวประเภทใดเพื่อจะสามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับสภาพผิว ซึ่งเราสามารถทดสอบที่บ้านได้ด้วยตัวเองโดยการวัดปริมาณไขมันที่ผลิตออกมาจากรูขุมขนที่ผิวสร้างขึ้น
-
อ.ย. สหรัฐฯ อนุมัติวัคซีนของไฟเซอร์อย่างสมบูรณ์
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา (FDA) ได้อนุมัติวัคซีนป้องกันโควิด – 19 ของไฟเซอร์ไบโอเอ็นเทคสำหรับป้องกันโควิด – 19 ในผู้ที่มีอายุ 16 ปีขึ้นไปอย่างสมบูรณ์แล้วเป็นรายแรก (Comirnaty)
-
การรักษาโรคเบาหวาน
การรักษาโรคเบาหวานจะใช้ยาหลายชนิดด้วยกัน มีทั้งยากินและยาฉีด ซึ่งมีข้อมูลให้ทราบไว้เป็นแนวทาง เพราะการใช้ยาส่วนใหญ่ควรอยู่ในการดูแลของแพทย์เท่านั้น
-
รู้จักกับน้ำมันบำรุงผม
น้ำมันบำรุงผม หรือ แฮร์โทนิคเป็นสารสกัดจากสมุนไพรที่ผสมอยู่ในน้ำมันตัวพา น้ำมันตัวพาที่นิยมใช้ทำน้ำมันสมุนไพรบำรุงผม
-
อ.ย. สหรัฐฯ เตรียมอนุมัติวัคซีนของไฟเซอร์อย่างเต็มรูปแบบ
ปัญหาที่โควิด 19 แพร่ระบาดซ้ำอีกระลอกในหลายประเทศส่วนหนึ่งมาจากประชาชนส่วนหนึ่งไม่ได้ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด 19 โดยเฉพาะในสหรัฐฯ มหาอำนาจทางวัคซีน ใช่ว่าวัคซีนมีไม่เพียงพอแต่เป็นเพราะประชาชนส่วนหนึ่งไม่ยอมฉีดวัคซีน
-
11 ประโยชน์ต่อสุขภาพของกล้วย
กล้วยเป็นผลไม้ที่มีรสชาติอร่อย รับประทานง่าย และหาซื้อได้ง่ายราคาไม่แพงเพราะมีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่สำคัญประกอบด้วยสารอาหารที่จำเป็นหลายอย่างและให้ประโยชน์ต่อการย่อยอาหาร สุขภาพหัวใจ และการลดน้ำหนักอีกด้วย
-
สาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจ
สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดในโรคนี้ก็คือ การบาดเจ็บของหลอดเลือดที่เกิดจากการสะสมของคอเลสเตอรอลหรือแพล็คภายในผนังหลอดเลือดแดง ที่เรียกว่า ภาวะหลอดเลือดแข็ง และการไหลเวียนของเลือดที่ลดลงเกิดขึ้นเมื่อหลอดเลือดแดงอย่างน้อยหนึ่งเส้นอุดตันในบางส่วนหรือทั้งหมด
-
การดูแลฝ้า แผลเป็นและจุดด่างดำ
ฝ้า แผลเป็นและจุดด่างดำสามารถรักษาและทำให้จางลงได้ในเวลา 2 – 6 สัปดาห์ การรักษารอยแผลเป็นและรอยตำหนิอย่างเร่งด่วนนั้น จำเป็นต้องใช้เครื่องสำอางและครีมกันแดดเพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายจากแสงแดดที่จะทำให้เกิดรอยดำ
-
10 อาหารที่ดีต่อสุขภาพของหัวใจ
การเลือกรับประทานอาหารที่มีแคลอรีและปริมาณไขมันที่เหมาะสมถือว่าเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญต่อการดูแลหัวใจ ซึ่งวันนี้มีอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพหัวใจมาแนะนำกัน
-
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเบาหวาน
เมื่อคุณเป็นโรคเบาหวาน นั่นหมายความว่า ภายในเลือดของคุณจะมีระดับน้ำตาลสูงเกินกว่าค่ามาตรฐาน หลายคนอาจคิดว่าเป็นเรื่องปกติของคนที่เป็นโรคนี้ แต่คุณรู้หรือไม่ว่าน้ำตาลในเลือดที่สูงจะมีผลไปทำลายอวัยวะและเนื้อเยื่อต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ยิ่งปล่อยให้ค่าน้ำตาลสูงเป็นเวลานานเท่าไหร่ก็จะเกิดโรคแทรกซ้อนเพิ่มเติมมากขึ้น
-
ประโยชน์ 6 อันดับแรกของการเสริมคอลลาเจน
คอลลาเจนเป็นโปรตีนที่มีมากที่สุดในร่างกาย เป็นองค์ประกอบหลักของเนื้อเยื่อที่ประกอบขึ้นจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย ได้แก่ เส้นเอ็น เอ็น ผิวหนัง และกล้ามเนื้อ คอลลาเจนมีหน้าที่สำคัญหลายอย่างรวมถึงการให้ผิวของคุณมีโครงสร้างและเสริมสร้างกระดูก
-
รู้จักกับโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease) เกิดขึ้นเมื่อหลอดเลือดแดงที่เลี้ยงหัวใจตีบตีนจากการสะสมคราบพลัค จึงส่งผลให้หลอดเลือดหัวใจไม่สามารถส่งเลือด ออกซิเจน และสารอาหารไปยังหัวใจได้ตามปกติ การไหลเวียนของเลือดอาจลดลง
-
การดูแลผิวด้วยตัวเองในแบบที่ควรหลีกเลี่ยง
หลายคนที่สนใจข้อมูลด้านโภชนาการก็จะมีข้อมูลเกี่ยวกับสารที่มีประโยชน์ต่อผิวมากมาย จึงได้คิดค้นวิธีหรือสูตรในการดูแลผิวด้วยตัวเอง แต่ทราบหรือไม่ว่าการใช้สารบางอย่างที่มากเกินไปหรือผิดวิธีอาจจะสร้างความเสียหายให้กับผิวของคุณได้ ซึ่งขอแนะนำวิธีที่ผิดที่คุณไม่ควรหาทำ
-
ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโควิด 19 (ตอนจบ)
การยับยั้งการแพร่ระบาดของโควิด 19 ที่ได้ผลดีที่สุด คือ การฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชนมากที่สุด แต่ยังมีผู้คนจำนวนมากที่ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ผิดและแชร์กระจายข้อมูลไปสู่วงกว้าง ทำให้มีคนส่วนหนึ่งไม่เข้าฉีดวัคซีน ซึ่งมีโอกาสที่จะติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อได้มากขึ้น
-
ปัจจัยเสี่ยงของโรคเบาหวาน
ก่อนหน้านี้เราได้ทราบกันแล้วว่าโรคเบาหวานมีอยู่หลายประเภท ได้แก่ เบาหวานประเภทที่ 1, เบาหวานประเภทที่ 2 และโรคเบาหวารขณะตั้งครรภ์ พร้อมบอกถึงสาเหตุและอาการว่าเป็นอย่างไร ซึ่งตอนนี้เราจะมาดูกันว่าใครบ้างที่มีพฤติกรรมหรือคุณสมบัติที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวาน เพื่อคุณจะได้ดูแลสุขภาพให้ปลอดภัยจากโรคนี้
-
เปิดรายชื่อประเทศที่เริ่มฉีดวัคซีนโควิด 19 เข็มที่ 3
แม้ว่าตอนนี้จะมีการกล่าวถึงกรณีที่วัคซีนป้องกันโควิด 19 ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อจากสายพันธุ์เดลต้าได้ แต่ก็สามารถป้องกันการเจ็บป่วยที่รุนแรงจนต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบายหรือเสียชีวิตได้ และขณะนี้มีหลายประเทศชั้นนำที่กำลังเริ่มฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 กันแล้ว
-
รู้จักกับฮอร์โมนที่ควบคุมวงจรการนอนหลับ
สมองของเราจะปล่อยสารสื่อประสาทและฮอร์โมนหลายชนิดออกมาเพื่อส่งสัญญาณส่งเสริมให้เกิดการนอนหลับหรือตื่นตัว ซึ่งสารเหล่านี้จำนวนมากจะถูกกระตุ้นด้วยแสงหรือความมืด
-
อาหารจากพืชช่วยปกป้องสุขภาพของหัวใจ
การศึกษาพบว่าการกินอาหารจากพืชจะช่วยส่งเสริมให้สุขภาพของหัวใจและหลอดเลือดดีขึ้น มีอัตราการเสี่ยงเป็นโรคหัวใจที่ลดลง ดังนั้นจึงมีคำแนะนำให้รับประทานอาหารที่สดใหม่จากธรรมชาติมากกว่าอาหารจากการแปรรูป
-
ไก่ต้มขมิ้น เมนูปักษ์ใต้บำรุงปอดพร้อมเสริมภูมิคุ้มกัน
การแพร่ระบาดใหญ่ของโควิด - 19 ระลอกใหม่ได้โหมซัดกระหน่ำไปทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศไทยยอดผู้ติดเชื้อใหม่ทะลุระดับ 20,000 คนอย่างน่าหวาดเสียว ล่าสุดสถาบันการแพทย์แผนไทยได้นำเสนอเมนู ไก่ต้นขมิ้น ที่มีส่วนประกอบเป็นสมุนไพรสรรพคุณช่วยบำรุงปอดและเสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกายของเราแข็งแรงสู้กับโควิด
-
การเลือกรับประทานอาหารมีผลต่อสุขภาพจิต
ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าเป็นหนึ่งในภาวะสุขภาพจิตที่พบบ่อยที่สุดทั่วโลก ซึ่งองค์การอนามัยโลก (WHO) เผยว่าภาวะซึมเศร้าอาจเป็นหนึ่งในปัญหาด้านสุขภาพอันดับต้นๆ ของโลกภายในปี 2030 และจิตเวชศาสตร์โภชนาการได้ทำการวิจัยถึงบทบาทของโภชนาการในการพัฒนาและการรักษาปัญหาสุขภาพจิต
-
ภูมิคุ้มกันหมู่สำหรับเดลต้าต้องฉีดวัคซีนมากกว่า 80%
สมาคมโรคติดเชื้อแห่งอเมริกาได้กล่าวสรุปว่าเกี่ยวกับการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่และการป้องกันโควิด – 19 สายพันธุ์เดลต้าที่แพร่เชื้อได้มากกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิม
-
ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโควิด 19 (ภาค 2)
ล่าสุดโควิดได้กลับมาโจมตีอีกระลอกด้วยสายพันธุ์เดลต้าและมีการติดเชื้ออย่างรวดเร็วโดยเฉพาะในพื้นที่ที่ประชาชนฉีดวัคซีนน้อย ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากผู้คนยังมีความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับวัคซีน
-
อาการที่พบในโรคเบาหวาน
ผู้ป่วยโรคเบาหวานจะมีอาการที่เกิดจากน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ซึ่งอาการที่พบทั่วไป ได้แก่ หิวอาหารเพิ่มขึ้น กระหายมาขึ้น น้ำหนักลด ปัสสาวะบ่อย มองเห็นไม่ชัด เหนื่อยมาก และแผลหายช้า
-
เมื่อเรานอนหลับเกิดอะไรขึ้นบ้าง ?
การนอนหลับเป็นการช่วยให้ร่างกายได้รับการพักผ่อนจากการเหนื่อยล้า แต่ส่วนของสมองจะยังคงทำงานอยู่ตลอดทั้งคืน โดยมีนาฬิกาชีวิตที่คอยกำหนดเวลาว่าเราควรจะนอนหลับพักผ่อนเมื่อใด ซึ่งในร่างกายของคนเรานั้นจะมีนาฬิกาชีวิตอยู่หลายเรือนด้วยกัน
-
อะโวคาโดผลไม้ที่ดีสำหรับโรคเบาหวาน
การควบคุมโรคเบาหวานและหลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยควรรับประทานอาหารที่ช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและมีประโยชน์ต่อสุขภาพ เช่น ลดความดันโลหิตและคอเลสเตอรอล ซึ่งการรับประทานอะโวคาโดสามารถช่วยได้
-
10 อาหารเพื่อสุขภาพผมที่ดี
อาหารที่เรารับประทานเข้าไปในแต่ละมื้อจะมีสารอาหารที่สามารถบำรุงแต่ละส่วนของร่างกายได้มากหรือน้อยแตกต่างกันไป สำหรับคนที่ต้องการรักษาสุขภาพของเส้นผมก็สามารถเลือกรับประทานอาหารที่บำรุงเส้นผมได้เช่นเดียวกัน
-
ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโควิด 19
ในประเทศมหาอำนาจทางวัคซีนอย่างสหรัฐฯ ที่มีวัคซีนเหลือใช้จนจะหมดอายุยังไม่สามารถควบคุมไวรัสได้เด็ดขาด นั่นก็เพราะว่าประชาชนส่วนหนึ่งไม่ยอมฉีดวัคซีน เนื่องจากมีการแชร์ข้อมูลที่ผิดออกมาอย่างมากมาย
-
เคล็ดลับในการดูแลผิวสวย
การดูแลผิวอย่างถูกต้องในชีวิตประจำวันจะช่วยรักษาสุขภาพผิวและลดปัญหาที่ไม่พึงประสงค์ เช่น สิว รอยแผลเป็น และจุดด่างดำ ซึ่งการดูแลผิวในหนึ่งวันจะนิยมทำกัน 2 เวลาคือ เช้าและเย็นโดยมี 4 ขั้นตอนด้วยกัน
-
Pfizer และ Moderna ต้องศึกษาการใช้วัคซีนในเด็ก 5 – 11 ปีเพิ่มเติม
อ.ย. สหรัฐฯ ได้ขอให้ไฟเซอร์และโมเดอร์นาผู้ผลิตวัคซีน mRNA ไปศึกษาการใช้วัคซีนในเด็กอายุ 5 – 11 ปี เพิ่มเติมโดยกำหนดจำนวนผู้เข้าร่วม 3,000 คน เพราะมองว่าการศึกษากับเด็กในตอนแรกยังตรวจหาผลข้างเคียงที่หายาก เช่น การอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ ที่อาจพบได้ในผู้ที่ฉีดวัคซีนอายุต่ำกว่า 30 ปีอย่างไม่เพียงพอ
-
20 เขตใน 7 รัฐของสหรัฐฯ ติดเชื้อเดลต้าเหตุฉีดวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์
Surgo Ventures หน่วยงานวิจัยข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ไม่แสวงหากำไรเผยว่า 20 เขตใน 7 รัฐของสหรัฐฯ เป็นโซนอันตรายจากการมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์เดลต้า 83% ของผู้ติดเชื้อรายใหม่ของสหรัฐฯ เหตุเพราะมีอัตราการฉีดวัคซีนที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของสหรัฐอเมริกาอยู่ที่ 48%
-
10 วิธีเอาชนะอาการนอนไม่หลับ
ใครหลายคนที่ประสบกับปัญหานอนไม่หลับจะรู้ว่าเป็นความทุกข์ทรมาน เพราะจะทำให้ตอนกลางวันรู้สึกอ่อนเพลียจากการนอนไม่เพียงพอ คิดงานไม่ออกและไม่สดชื่น อยากจะแก้ไขให้ตัวเองหัวถึงหมอนแล้วนอนหลับและตื่นมาอย่างสดชื่น ซึ่งมีเคล็ดลับดี ๆ มาฝากกัน
-
อาหารเพื่อสุขภาพสำหรับเด็ก
เด็กมีความต้องการสารอาหารเช่นเดียวกับผู้ใหญ่ ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน แร่ธาตุ และไขมัน แต่ปริมาณในการรับสารอาหารของผู้ใหญ่และเด็กในวัยต่าง ๆ จะมีความแตกต่างกัน ซึ่งมีหลักเกณฑ์ด้านอาหารสำหรับเด็กเบื้องต้นมานำเสนอกัน
-
5 วิธีคลายร้อนในช่วงวันหยุด
ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตร ทำให้ภูมิอากาศของประเทศมีลักษณะเป็นแบบร้อนชื้น แม้ตอนนี้กำลังเข้าสู่หน้าฝนแต่อากาศก็ยังคงร้อนถึง 35 °C และยิ่งช่วงฤดูร้อนอุณหภูมิสูงสุด 40 °C ซึ่งบางคนถึงกับมีอาการอ่อนเพลียหรือเกือบจะเป็นลม ดังนั้นเราจะมาดูวิธีการคลายร้อนในช่วงวันหยุดกัน
-
คำเตือนฉีดวัคซีน J&J เสี่ยงเป็นโรคกิลแลง-บาร์เร (น้อยมาก)
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาสหรัฐฯ (อย.) ได้ออกคำเตือนพบข้อบ่งชี้เพิ่มเติมว่าหลังการฉีดวัคซีนจอห์นสันแอนด์จอนห์นสันมีความเสี่ยงเป็นโรคกิลแลง-บาร์เร หรือผลข้างเคียงที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันโจมตีระบบประสาท
-
การกินข้าวและธัญพืชไม่ขัดสีช่วยลดความเสี่ยงของโรคหัวใจ
งานวิจัยใหม่พบว่าคนวัยกลางคนและผู้สูงอายุที่กินกินเมล็ดธัญพืชไม่ขัดสีอย่างน้อย 3 มื้อต่อวันมีความเชื่อมโยงกับขนาดเอว ความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดที่น้อยลง
-
8 ขั้นตอนในการปกป้องผิวจากแสงแดด
ใครที่ต้องออกไปทำงาน พบปะลูกค้า หรือท่องเที่ยวที่ต้องเผชิญกับแสงแดดอันร้อนระอุ รวมทั้งคนที่อยากสวมชุดว่ายน้ำเล่นน้ำในสระหรือริมทะเล ซึ่งมีความกังวลว่าผิวที่จะโดนแดดแผดเผา เรามีเคล็ดลับดี ๆ ในการดูแลผิวจากแสงแดดมาฝากกัน
-
การกินอาหารหมักดองช่วยลดอาการอักเสบได้
การอักเสบเรื้อรังมีความเกี่ยวโยงกับความเสี่ยงของสุขภาพที่จะมีเพิ่มขึ้นได้ เช่น โรคหัวใจ โรคหอบหืด และโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ แม้ว่าปัจจุบันจะมียารักษาอาการอักเสบเรื้อรังได้ แต่ก็มีทางเลือกที่ช่วยทดแทนการใช้ยา นั่นก็คือ การกินอาหารหมักดอง
-
รู้จักกับโรคเบาหวาน (Diabetes mellitus)
โรคเบาหวาน คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของเมตาโบลิซึมที่ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง สามารถทำลายเส้นประสาท ดวงตา ไต และอวัยวะอื่นๆ ของเราได้
-
รู้จักกับเอเอชเอสู่เคล็ดลับผิวสวย
เอเอชเอ (Alpha-hydroxy acids : AHA) หรือ กรดอัลฟ่าไฮดรอกซี เป็นกลุ่มของกรดที่ได้จากพืชและสัตว์ ซึ่งเรามักพบอยู่ในส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ดูแลผิวต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์ต้านริ้วรอย เช่น เซรั่ม โทนเนอร์ และครีม จากการวิจัยพบว่าเอเอชเอในกลุ่มของกรดไกลโคลิก (จากอ้อย) และแลคติก (จากแลคโตสพบได้ในน้ำนม) แนวโน้มมีประสิทธิภาพมากที่สุดและโอกาสเกิดการระคายเคืองน้อยที่สุด
-
อ.ย. อนุมัติ Rapid Antigen Test ชุดตรวจโควิดที่ประชาชนซื้อใช้เองได้
อย. ได้อนุมัติชุดตรวจโควิด-19 แบบตรวจหาแอนติเจนด้วยตนเอง ซึ่งประชาชนสามารถสั่งซื้อได้ผ่านสถานพยาบาล หน่วยงานของรัฐ และร้านขายยาที่มีเภสัชกรให้คำแนะนำ ซึ่งตอนนี้ได้อนุมัติชุดตรวจอัปเดตแล้ว 4 บริษัทผู้ผลิต 5 รายการ
-
ปลาและอาหารทะเลที่ดีต่อสุขภาพ
ปลาและอาหารทะเลเป็นแหล่งอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง อุดมไปด้วยกรดไขมันโอเมก้า 3 และไอโอดีน จากการศึกษาพบว่าคนที่รับประทานอาหารทะเลโดยเฉพาะปลา มีแนวโน้มว่าจะมีอายุยืนและเสี่ยงต่อโรคต่าง ๆ น้อยลง ได้แก่ หัวใจ สมองเสื่อม และภาวะซึมเศร้า
-
รู้จักโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ “แลมบ์ดา”
ล่าสุดมีโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ที่องค์การอนามัยโลกให้เฝ้าจับตา คือ แลมบ์ดา ที่พบครั้งแรกในประเทศเปรูเมื่อเดือนธันวาคม มีความโดดเด่นตรงที่ทำให้ชาวเปรูเสียชีวิตเกือบ 195,000 คนจากประชากร 32 ล้านคน
-
องค์การอนามัยโลกเตือนอย่าหาทำ ฉีดวัคซีนคละสูตรมีแนวโน้มอันตราย
องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าไม่ควรมีการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 แบบคละสูตรให้กับประชาชน เนื่องจากมีแนวโน้มที่อันตรายเพราะจำเป็นต้องมีข้อมูลที่เกี่ยวกับผลกระทบต่อสุขภาพที่ชัดเจนกว่านี้
-
6 สุดยอดผลไม้ที่ดีต่อสุขภาพ
ผลไม้เป็นหนึ่งในกลุ่มอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพและมีรสชาติอร่อย ซึ่งสามารถเสิร์ฟสู่โต๊ะอาหารในมื้อต่าง ๆ ได้อย่างเข้ากัน ไม่ยากในจัดเตรียมมากนักหรือแทบไม่ต้องจัดเตรียมเลยก็ว่าได้
-
โควิด-19 สายพันธุ์เดลตาพลัสต่างจากเดลตาอย่างไร ?
โควิด-19 สายพันธุ์เดลตา (B.1.617.2) พบครั้งแรก (ธันวาคม 2020) และระบาดอย่างรวดเร็วในอินเดียสามารถแพร่เชื้อได้เพิ่มขึ้น 40-60% เมื่อเทียบกับสายพันธุ์อัลฟาที่โดดเด่นในอังกฤษ
-
เลือกรับประทานอาหารอย่างไรเพื่อลดหน้าท้อง
ไขมันหน้าท้องที่ยื่นออกมา นอกจากจะทำให้ไม่น่ามองแล้วยังเป็นอันตรายที่เชื่อมโยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ โรคเบาหวานประเภท 2 และโรคหัวใจ ดังนั้นการลดไขมันหน้าท้องจะช่วยเพิ่มความมั่นใจและทำให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งเราสามารถลดไขมันหน้าท้องผ่านการควบคุมการรับประทานอาหาร
-
เนื้อสัตว์แปรรูปและเนื้อสัตว์ไม่แปรรูปอะไรอันตรายกว่ากัน ?
นักวิจัยพบว่าเนื้อสัตว์แปรรูปและเนื้อสัตว์ที่ไม่แปรรูปต่างก็มีไขมันอิ่มตัวหรือคอเลสเตอรอลที่ไม่ได้เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ก็ยังมีสิ่งเจือปนอย่างอื่นในเนื้อสัตว์แปรรูปที่มีโอกาสทำให้เกิดโรคที่อันตรายได้ เรามาดูความแตกต่างกัน
-
เคล็ดลับการออกกำลังกายหลังจากฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19
หลายคนที่ฉีดวัคซีนไปแล้ว 1 โดสหรือครบ 2 โดสมีความต้องการที่จะออกกำลังกายเพื่อสร้างความแข็งแรงและเสริมภูมิคุ้มกัน แต่ก็มีความกังวลว่าจะเป็นอันตรายหรือไม่และควรจะออกกำลังอย่างไรจึงจะเหมาะสม เรามีข้อมูลดี ๆ มาแนะนำกัน
-
อาหารที่คุณควรหลีกเลี่ยงเพื่อประโยชน์ต่อสุขภาพ
ในแต่ละวันมีเมนูอาหารอร่อยมากมายให้เราได้เลือกกิน แต่คุณรู้หรือไม่ว่าอาหารบางชนิดไม่ดีต่อสุขภาพ จึงไม่ควรรับประทาน ควรหลีกเลี่ยงหรือจำกัดให้น้อยลง
-
แนวทางในการกินอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารที่เรากินเข้าไปในแต่ละมื้อนั้นจะประกอบด้วยสารอาหารที่ส่งผลทั้งดีและให้โทษต่อร่างกาย ดังนั้นมาดูกันว่าเราควรกินอาหารในแต่ละกลุ่มอย่างไรที่จะมีประโยชน์ต่อสุขภาพ
-
7 อาหารที่เป็นแหล่งอุดมด้วยวิตามิน B12
วิตามิน B12 เป็นวิตามินที่ละลายในน้ำได้ โดยธรรมชาติจะพบได้ในอาหารจากเนื้อสัตว์ชนิดต่าง ๆ ซึ่งมีประโยชน์ช่วยให้ร่างกายสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง DNA และช่วยให้ระบบประสาทแข็งแรง แต่สำหรับผู้สูงอายุ คนที่กินมังสวิรัติ เป็นโรคโลหิตจาง มีปัญหากับทางเดินอาหารที่ดูดซับสารอาหารได้ยาก และหญิงมีครรภ์จำเป็นต้องเลือกกินอาหารที่มีวิตามินบี 12 เป็นพิเศษ
-
12 ประโยชน์ของทับทิมผลไม้แห่งสุขภาพ
ทับทิมจัดเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ นอกจากมีสารอาหารมากมายแล้วยังอาจช่วยลดความเสี่ยงจากโรคต่าง ๆ ได้อีกด้วย ดังนั้นเรามาดูกันว่าทับทิมมีประโยชน์อะไรบ้าง
-
สุดยอดอาหารมังสวิรัติที่มีสารอาหารทดแทนเนื้อสัตว์
ปัจจุบันผู้คนได้หันมากินอาหารมังสวิรัติกันมากขึ้น เพราะต้องการรักษาสุขภาพเนื่องจากการเลี้ยงสัตว์ได้มีการใช้ยาปฏิชีวนะ อยากลดน้ำหนักหลีกเลี่ยงการเป็นโรคอ้วน และอาจจะเคร่งครัดทางศาสนารักษาศีลไม่เบียดเบียนหรือฆ่าสัตว์
-
11 อาหารที่เพิ่มประสิทธิภาพให้กับสมองและความจำ
สมองเป็นศูนย์ควบคุมและดูแลการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย ตั้งแต่การเต้นของหัวใจ การหายใจของปอด ความรู้สึก การจำ และการคิดคำนวณวางแผนต่าง ๆ ดังนั้นหากเราบำรุงสมองให้มีสุขภาพที่ดีก็ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานได้ดียิ่งขึ้นด้วย
-
8 วิธีในการดื่มกาแฟให้ดีต่อสุขภาพ
กาแฟจัดว่าเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก ซึ่งมีประโยชน์โดยเป็นแหล่งของสารต้านอนุมูลอิสระและมีคาเฟอีนซึ่งเป็นสารกระตุ้นที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของสมองและเพิ่มการเผาผลาญ
-
ปรุงเมนูไข่อย่างไร ? ได้คุณค่าสูง
ไข่เป็นวัตถุดิบที่หาง่าย ราคาถูกและมีคุณค่าทางโภชนาการอย่างมากมาย ประกอบด้วย โปรตีน, วิตามิน, แร่ธาตุ, ไขมันดี และสารอาหารรองต่างๆ ที่สำคัญมีแคลอรี่ค่อนข้างน้อย
-
9 สุดยอดอาหารตระกูลถั่วที่ให้ประโยชน์ต่อสุขภาพ
ถั่วจัดเป็นตัวเลือกของขนมกินเล่นยามว่างที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ แม้ว่าถั่วนั้นจะมีไขมันที่สูง แต่คุณรู้ไหมว่าไขมันในถั่วจัดว่าเป็นไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยวที่ดีต่อสุขภาพ อีกทั้งถั่วยังเป็นแหล่งเส้นใยอาหาร โปรตีน แมกนีเซียมและวิตามินอี
-
7 ประโยชน์ที่ดีต่อสุขภาพของดาร์กช็อกโกแลต
ดาร์กช็อกโกแลต บางทีเรียกว่า ช็อกโกแลตดำ เป็นช็อกโกแลตประเภทหนึ่งที่มีปริมาณโกโก้มากกว่าช็อกโกแลตนมทั่วไป ผลิตจากเมล็ดโกโก้ที่เต็มเปี่ยมด้วยสารอาหาร เป็นแหล่งของสารต้านอนุมูลอิสระที่ดีที่สุดในโลก พบว่าโประโยชน์มากมาย
-
จัดเก็บน้ำมันปรุงอาหารอย่างไรให้ปลอดภัย
น้ำมันปรุงอาหาร (cooking oil) ส่วนใหญ่จะมีแนวโน้มว่ากลิ่นเหม็นหืน เนื่องจากสารประกอบในน้ำมันหลังจากเปิดใช้งานจะทำปฏิกิริยากับอ็อกซิเจน จนทำให้เกิดการสลายตัวของเปอร์ออกไซด์ส่งผลให้น้ำมันปรุงอาหารมีกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ และยังเพิ่มจำนวนของอนุมูลอิสระ
-
10 คุณประโยชน์ที่ดีต่อสุขภาพของผักเคล
เคล หรือเรียกว่า “คะน้าใบหยัก” เป็นราชาแห่งผักที่มีคุณค่าทางโภชนาการมากที่สุด ประกอบด้วยสารอาหาร และคุณสมบัติทางยาที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ โดยได้สรุปออกมา 10 ประการ
-
12 อาหารเพื่อสุขภาพที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูง
อนุมูลอิสระที่มีในร่างกายมากเกินไปจะสามารถสร้างความเสียหายให้กับเซลล์และทำลายระบบภูมิคุ้มกัน เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยเป็นโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ หลอดเลือด และมะเร็ง ตลอดจนเร่งกระบวนการชราภาพ
-
ทำไมต้องกินอาหารและอาหารเสริมที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ
ปกติร่างกายของเราจะสร้างอนุมูลอิสระ (เป็นโมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยวในวงนอกสุด) ผ่านกระบวนการเผาผลาญและการผลิตพลังงาน ซึ่งอนุมูลอิสระจะมีบทบาทที่สำคัญต่อการทำงานในร่างกายของมนุษย์ แต่เมื่อร่างกายผลิตอนุมูลอิสระหรือรับมาจากภายนอกจนมีมากเกินไปก็ไม่ดี
-
เมื่อปวดหัวแบบตึงเครียดควรทำอย่างไร ?
ปวดหัวแบบตึงเครียดเป็นอาการปวดหัวที่พบบ่อยที่สุดประมาณ 50 – 70% ของคนทั่วโลก ซึ่งเกิดจากความเครียดทางร่างกายหรืออารมณ์ ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า นอนไม่หลับ ขาดการออกกำลังกาย ปวดตา ขาดน้ำ ทนกับเสียงดังเป็นประจำ เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า กัดกราม ดื่มแอลกอฮอล์ รวมไปถึงนอนน้อย
-
10 ประโยชน์ที่ดีต่อสุขภาพของบลูเบอร์รี่
บลูเบอร์รี่เป็นผลไม้ที่ให้รสหวานและถูกจัดว่าเป็นหนึ่งในอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เพราะมีแคลอรีต่ำ จึงเป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยม ซึ่งเราจะมาดูกันว่าบลูเบอร์รี่มีประโยชน์อะไรบ้าง
-
9 วิธีแก้อาการปวดฟันตอนกลางคืนในแบบเฉพาะหน้าได้ด้วยตัวเอง
การปวดฟันฉุกเฉินในช่วงกลางคืนอาจส่งผลให้นอนไม่หลับกระส่ายกระสับบิดตัวไปมาทั้งคืน ครั้นจะออกไปหาหมอฟันเลยตอนนั้นก็คงจะไม่มีคลินิกที่ไหนเปิด 24 ชม. ดังนั้นมาดูเทคนิคการแก้ปัญหาอาการปวดฟันในแบบเฉพาะหน้ากัน
-
หมอบอกโควิดรอบนี้ไม่แสดงอาการ แต่เชื้อลงปอดเกินครึ่ง
สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ระลอก 3 ครั้งนี้มีผู้ป่วยหลักพันคนต่อวัน และมีผู้เสียชีวิตมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยส่วนใหญ่ พบว่าเชื้อมักลงปอด ทำให้เป็นสาเหตุหลายคนอาการหนักและบางรายถึงขึ้นเสียชีวิต
-
ข้อดีของการนอนกลางวันดีต่อสุขภาพอย่างไร ?
😴การนอนกลางวันสัก 15-20 นาทีจะช่วยลดความชราทั้งด้านร่างกายและสมองอย่างได้ผล แต่ไม่ควรเกิน 30 นาที เพราะจะทำให้ตื่นมาแล้วงุนงงจนทำงานต่อไปไม่ได้ และกลางคืนจะนอนไม่หลับ
-
ช่วงเวลาการนอนมีผลต่อสุขภาพอย่างไร ปรับเปลี่ยนก่อนจะสาย
นาฬิกาชีวิต คือ ระบบการทํางานในร่างกายของเรา มีวงจรการเข้างานของอวัยวะต่าง ๆ อย่างเป็นระบบระเบียบ ซึ่งการนอนจะช่วยให้หัวใจและร่ายการพักผ่อน ซ่อมแซใส่วนที่สึกหรอ
-
ปัญหาทุกข์ใจหัวถึงหมอนนานเท่าไหร่ก็ไม่นอนหลับ แก้ไขได้ไม่ยาก
เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย จะมีทั้งประเภทที่หลับยาก คือกว่าจะหลับ อาจใช้เวลาเป็นชั่วโมง หรือหลับไม่ทน คืออาจพอหลับได้แต่ไม่นานก็จะตื่น
-
5 ประโยชน์ของน้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว งานวิจัยเพื่อสุขภาพ
ช่วยให้สามารถนอนหลับได้ สบายและหลับสนิทร่างกายจะได้รับการพักผ่อนเต็มที่ทำ ให้มีการหลั่งของโกรทฮอร์โมน ( Growth Hormone ) ทำให้ร่างกายสามารถซ่อมแซมตัวเองได้เร็วขึ้นรวมทั้งยังช่วยให้มีการฟื้น ตัวดีขึ้น
-
ผมร่วงนี้มีที่มา : 7 สาเหตุอาการผมร่วงมากผิดปกติ
ตามธรรมชาติ อะไรที่หมดอายุขัยย่อมร่วงโรยไป เปิดทางให้สิ่งใหม่เข้ามาแทนที่ ผมของคนเราก็เช่นกันค่ะ จากคำอธิบายของนายแพทย์สุวรรณ ศรีธรรมมา อธิบดีกรมการแพทย์ ตลอดชีวิต
-
การนอนหลับ
การนอนดึกมากหรือนอนพักผ่อนไม่เพียงพอ จะทำให้สุขภาพของร่างกายเสื่อมโทรมมาก ทั้งกายและจิตใจ ร่างกายจะอ่อนเพลีย
-
ข้าวกล้อง
ข้าวกล้อง เป็นข้าวที่ไม่ผ่านการขัดสี จึงยังคงมีสารอาหารต่าง ๆ มากกว่าข้าวขัดขาว หลายคนจึงเชื่อว่าการรับประทานข้าวกล้องเป็นประโยชน์ต่อร่างกายหลายด้าน