(Thai) 🧉 #การตรวจระดับคอเลสเตอรอล ❤️
(Thai) สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกามีคำแนะนำให้คนที่อายุ 20 ปีขึ้นไป เข้ารับการตรวจระดับคอเลสเตอรอลอย่างน้อยทุกๆ 4 - 6 ปี หากมีประวัติคอเลสเตอรอลสูงหรือมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ สำหรับโรคหัวใจและหลอดเลือดจะแนะนำให้ตรวจบ่อยขึ้น
(Thai) 🧉 #รู้จักกับไตรกลีเซอไรด์ ❤️
(Thai) ไตรกลีเซอไรด์เป็นสารในกลุ่มลิพิด ซึ่งเป็นส่วนประกอบหลักของน้ำมันและไขมัน มีความแตกต่างจากคอเลสเตอรอล ทั้งนี้เมื่อร่างกายของเราใช้คอเลสเตอรอลในการสร้างเซลล์และฮอร์โมนบางชนิด ก็จะนำไตรกลีเซอไรด์มาใช้เป็นแหล่งพลังงาน
(Thai) 🧉 #รู้จักกับ LDL และ HDL ❤️
(Thai) LDL มักถูกเรียกว่า "คอเลสเตอรอลที่ไม่ดี" จะนำคอเลสเตอรอลไปยังหลอดเลือดแดง หากระดับคอเลสเตอรอลในเลือดของสูงเกินไป ก็จะสะสมที่ผนังหลอดเลือดแดงได้
(Thai) 🧉 #สาเหตุของคอเลสเตอรอลสูง ❤️
(Thai) คอเลสเตอรอลสูงเป็นภัยเงียบที่ไม่ออกอาการกว่าจะรู้ตัวก็ต่อเมื่อมีโรคแทรกซ้อนร้ายแรง เช่น เช่น หัวใจวายหรือโรคหลอดเลือดสมอง
(Thai) 🧉#รู้จักกับคอเลสเตอรอล ❤️
(Thai) คอเลสเตอรอลเป็นไขมันที่อยู่ในร่างกาย หากมีมากเกินไปจะนำไปสู่ปัญหาสุขภาพได้
(Thai) 🏃♀️ #การเยียวยาโรคซึมเศร้าแบบธรรมชาติ 🌾
(Thai) นอกจากการรักษาโดยใช้ยาแล้ว เรายังสามารถเยียวยาโรคซึมเศร้าด้วยวิธีธรรมชาติ โดยออกกำลังกาย สามารถเพิ่มการผลิตเอ็นดอร์ฟินของร่างกาย และอื่น ๆ
(Thai) การรักษาโรคซึมเศร้า[th]
(Thai) การรักษาโรคซึมเศร้ามีหลายรูปแบบด้วยกัน สามารถเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งหรือผสมกันให้ได้ผลดีที่สุด
(Thai) 😰#ประโยชน์ของเมลาโทนิน 😴
(Thai) “เมลาโทนิน” รู้จักกันในชื่อ “ฮอร์โมนแห่งการนอนหลับ” จะหลั่งออกมาในช่วงเวลากลางคืน มีประโยชน์ #ช่วยส่งเสริมการนอนหลับ และอื่น ๆ อีกมายที่อยากจะแนะนำ
(Thai) 😔 #ปัจจัยเสี่ยงของภาวะซึมเศร้า 😭
(Thai) ภาวะซึมเศร้าสามารถเกิดขึ้นได้จากทั้งปัจจัยทางชีวเคมี ทางการแพทย์ สังคม พันธุกรรม หรือตามสถานการณ์รอบข้าง ขอสรุปปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย
(Thai) 👩🔬 #สาเหตุของอาการซึมเศร้า 😭
(Thai) ภาวะซึมเศร้าสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ตั้งแต่ทางชีวภาพ เคมีในสมอง ฮอร์โมน และสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งสาเหตุทั่วไปที่เจอ