(Thai) 👩🔬 #สาเหตุของอาการซึมเศร้า 😭
(Thai) ภาวะซึมเศร้าสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ตั้งแต่ทางชีวภาพ เคมีในสมอง ฮอร์โมน และสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งสาเหตุทั่วไปที่เจอ
(Thai) 😢 #รู้จักกับภาวะซึมเศร้า 😭
(Thai) อาการซึมเศร้าจัดเป็นโรคทางอารมณ์ ซึ่งมีความรู้สึกเศร้า สูญเสีย หรือโกรธส่งผลรบกวนต่อการทำงานและกิจกรรมในชีวิตประจำวันของบุคคลหนึ่ง โดยส่วนใหญ่คนเราจะโศรกเศร้าหลังจากสูญเสียคนที่คุณรักหรือมีเหตุการณ์กระทบกระเทือนจิตใจ
(Thai) 👩🔬#ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากกรดไหลย้อน
(Thai) โดยส่วนใหญ่โรคกรดไหลย้อนไม่ก่อให้เกิดโรคแทรกซ้อนที่ร้ายแรง แต่ก็มีบางกรณีที่ไม่พบบ่อยอาจทำให้มีปัญหาสุขภาพมที่ร้ายแรงหรือถึงขั้นเสียชีวิตได้
(Thai) 👦#อาหารที่กระตุ้นอาการกรดไหลย้อน 🥘
(Thai) ผู้ป่วยที่เป็นกรดไหลย้อนคสรทราบว่ามีอาหารพบว่าอาหารและเครื่องดื่มบางชนิดที่สามารถกระตุ้นให้เกิดอาการได้ ซึ่งควรระมัดระวัง
(Thai) 👩🔬 #ปัจจัยเสี่ยงของกรดไหลย้อน
(Thai) ปัจจัยด้านสุขภาพสามารถทำให้การวินิจฉัยมีแนวโน้มว่าเกิดโรคกรดไหลย้อนมากขึ้น
(Thai) 👩🔬 #สมุนไพรและอาหารเสริมสำหรับโรคหลอดเลือดหัวใจ ❤️
(Thai) การเกิดคราบพลัคในหลอดเลือดแดงจะขัดขวางการไหลเวียนของเลือดที่อุดมด้วยออกซิเจนไปยังหัวใจและอวัยวะอื่นๆ อาจทำให้หัวใจวายและเสียชีวิตได้ การรับประทานสมุนไพรและอาหารเสริมบางชนิดสามารถช่วยดูแลหลอดเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจได้
(Thai) 🍛🫕 #แนวทางการกินอาหารเพื่อสุขภาพ 🍚🍤
(Thai) เรากินอะไรเข้าไปย่อมเกิดผลดีหรือไม่ดีต่อสุขภาพตามสิ่งเหล่านั้น ดังนั้นหากเราต้องการมีสุขภาพดี จำเป็นจะต้องมีการจัดระเบียบเพื่อเลือกอาหารที่ดีที่สุดในแต่ละวัน ซึ่งมี 3 แนวทางที่อยากแนะนำ{:]
(Thai) 👩🔬 ฮอร์โมนควบคุมวงจรการนอนหลับ 🥱
(Thai) สมองของเราจะปล่อยสารสื่อประสาทและฮอร์โมนหลายชนิดออกมาเพื่อส่งสัญญาณส่งเสริมให้เกิดการนอนหลับหรือตื่นตัว ซึ่งสารเหล่านี้จำนวนมากจะถูกกระตุ้นด้วยแสงหรือความมืด
(Thai) 🥱 วิธีเอาชนะอาการนอนไม่หลับ 🌙
(Thai) ใครหลายคนที่ประสบกับปัญหานอนไม่หลับจะรู้ว่าเป็นความทุกข์ทรมาน เพราะจะทำให้ตอนกลางวันรู้สึกอ่อนเพลียจากการนอนไม่เพียงพอ คิดงานไม่ออกและไม่สดชื่น อยากจะแก้ไขให้ตัวเองหัวถึงหมอนแล้วนอนหลับและตื่นมาอย่างสดชื่น ซึ่งมีเคล็ดลับดี ๆ มาฝากกัน
(Thai) 👩🔬สาเหตุของโรคกรดไหลย้อน
(Thai) โรคกรดไหลย้อนมีที่มาได้จากหลายสาเหตุ หลัก ๆ มาจากกลไกในร่างกายทำงานไม่ถูกต้อง ซึ่งกล้ามเนื้อหูรูดส่วนล่างของหลอดอาหารจะคลายตัวและเปิดออกเมื่อเรากลืนอาหารเข้าไป จากนั้นจึงกระชับและปิดอีกครั้งในภายหลัง